แบบทดสอบ7วิชาสามัญสังคม ชุด 1
![]() |
![]() |
![]() |
Title of test:![]() แบบทดสอบ7วิชาสามัญสังคม ชุด 1 Description: ภูมิศาสตร์ |




New Comment |
---|
NO RECORDS |
สภาพภูมิศาสตร์ประเทศไทยข้อใดตรงกับความเป็นจริง. ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตมรสุม ไม่มีเขตเงาฝน ฝนจีงตกชุกทั่วไป. ในแต่ละปี ด้านตะวันตกของภาคใต้มีฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่าด้านตะวันออก. ในฤดูร้อน ด้านใต้ของทิวเขาพนมดงรักมีความชื้นสูงเพราะได้ลมพัดผ่านอ่าวไทบ. ภาคเหนือมีฝนน้อยกว่าภาคกลาง เพราะภูมิประเทศสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางมาก. ในฤดูหนาว ภาคกลางได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือน้อยกว่าภูมิภาคอื่นอากาศจึงไม่หนาวเย็น. ในการศึกษาภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหม่ ไม่สามารถใช้ข้อมูลจากข้อใด. รูปถ่ายทางอากาศ 1 : 25000 และบารอมิเตอร์. แผนที่ภูมิประเทศ 1 : 50000 และเทอโมกราฟ. แผนที่ความกดอากาศ 1 : 2000000 และไซโครมิเตอร์. สถิติภูมิอากาศประเทศไทยรอบ 30 ปี และสถานีตรวจอากาศ. ภาพจากดาวเทียม 1 : 50000 และสถานีรับสัญญานลาดกระบัง. สาเหตุของวิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมโลกข้อใดไม่ถูกต้อง. แก๊สเรือนกระจกเป็นสาเหตุใหญ่ของวิกฤตการณ์ด้านอากาศ. การเกษตรและอุตสาหกรรมเป็นสาเหตุใหญ่ของวิกฤตการณ์ด้านน้ำ. การปรับสภาพพื้นที่เพื่อการใช้ที่ดินเป็นสาเหตุใหญ่ของวิกฤตการณ์ด้านดิน. การเพิ่มขึ้นของประชากรเป็นสาเหตุใหญ่ของวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ. สภาพน้ำและอากาศเสียเป็นสาเหตุใหญ่ของวิกฤตการณ์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ. ข้อใดจะทำให้มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโลกบรรลุเป้าหมาย. การประชุมร่วมลงนามของนานาประเทศ. ประเทศมหาอำนาจร่วมกันดำเนินการอย่างเด็ดขาด. การลงนามในอนุสัญญาระหว่างประเทศที่ก่อปัญหา. การให้แต่ละประเทศจัดทำแผนการป้องกันและแก้ปัญหา. การให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกียวกับสารซีเอฟซีแก่ประชากรโลก. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการดำเนินการขององค์การด้านสิ่งแวดล้อม. กองทุนสัตว์ป่าแห่งโลกส่งเสริมและสร้างสิ่งแวดล้อมให้ทั้งมนุษย์และสัตว์. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยเป็นแหล่งข้อมูล ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม. กรีนพีชมีหน้าที่ตรวจสอบและเสนอแนะการทำงานด้านสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ. องค์การสิ่งแวดล้อมโลกมีหน้าที่สำรวจและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั่วไป. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมมีหน้าที่ติดตามและแก้ไขสิ่งแวดล้อมไทย. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติไทยข้อใดตรงกับความเป็นจริง. ชาวนาภาคกลางมักปลูกข้าวปีละครั้ง. ชาวสวนภาคตะวันออกมักขุดบ่อน้ำในพื้นที่ของตนเอง. ชาวสวนภาคใต้มักปลูกมะม่วงหิมพานต์เป็นอาชีพเสริม. ชาวนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักไม่ปลูกพืชในพื้นที่ดินเค็ม. ชาวไร่อ้อยในภาคตะวันตกมักปลูกอ้อยด้านตะวันตกของพื้นที่. ข้อใดแสดงถึงภูมิปัญญาที่เข้าใจภูมิศาสตร์กายภาพของพื้นที่. ชาวอยุธยาเก็บเกี่ยวรวงข้าวเมื่อน้ำลด. ชาวนครนายกปลูกไม้ยืนต้นบนคันนา. ชาวแม่ฮ่องสอนเพาะกล้าก่อนถอนไปดำในนาข้าว. ชาวสุรินทร์ปลูกหัวหอมแดงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว. ชาวเพชรบุรีเผาฟางข้าวแล้วไถกลบเตรียมพื้นที่ปลูกข้าว. พฤติกรรมของใครไม่สามารถอนุรักษ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมได้อย่างแท้จริง. นายโชตปรับพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เป็นเขตพืชสวน. นายชุบเร่งลงต้นยางในที่มรดกเพื่อให้ได้ผลผลิตเร็วที่สุด. นายชนะเร่งสร้างฝายส่งน้ำให้เกษตรกรและประชากรโดยตรง. หัวหน้าอุทยานปิดบริการเขตสวนป่าช่วงฝนตกหนักและช่วงแล้งจัด. หัวหน้าเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าใช้มาตรการทางกฎหมายลงโทษรุนแรงต่อผู้ลักลอบจับสัตว์. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั้งยืน. การพัฒนาที่ยั้งยืนควรรวมด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม. การพัฒนาที่ยั้งยืนมักหมายถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นทุน. หน่วยงานรัฐและหน่วยงานเอกชนเท่านั้นที่ต้องร่วมมือใรการพัฒนาให้ยั้งยืน. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการพัฒนาอย่างยั้งยืนต้องมีเป้าหมายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี. การประชุมด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาของโลกเริ่มขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ.2535 ที่ประเทศบราซิล. นักวิชาการคนใดเลือกสื่อเพื่อติดตามข้อมูลไปใช้ในงานของตนไม่ถูกต้อง. วิศวกรสำรวจใช้แผนที่ภูมิประเทศ 1 : 50,000 กำหนดเส้นทางถนนทั่วประเทศ. นักธรณีวิทยาใช้ภาพจากดาวเทียม 1 : 500,000 ศึกษาแนวรอยเลื่อนของผิวโลก. นักศึกษาแพทย์ใช้ข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ศึกษาการระบาดของโรคฉี่หนู. นักผังเมืองใช้แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ 1 : 20,000 วางแผนพัฒนาบริเวณชานเมือง. นักปฐพีวิทยาใช้ภาพจากดาวเทียม 1 : 2,000,000 ศึกษาสภาพและปัญหาดินของประเทศ. |