ข้อสอบO-netภูมิศาสตร์
![]() |
![]() |
![]() |
Title of test:![]() ข้อสอบO-netภูมิศาสตร์ Description: วิชาภูมืศาสตร์ ม.5 |




New Comment |
---|
NO RECORDS |
ข้อใดเป็นสาเหตุของการเกิดสึนามิที่จะส่งผลกระทบต่อชายฝั่ง. การเคลื่อนตัวของดินโคลนบริเวณเชิงเขาโดยฉับพลัน. การก่อตัวของพายุหมุนในมหาสมุทร. การปะทุของภูเขาไฟในภาคพื้นทวีปที่มีความรุนแรง. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกบริเวณมหาสมุทร. กิจกรรมของมนุษย์ในข้อใดที่ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. การออกกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม. การจัดตั้งชมรมเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ. การเพิ่มจำนวนของสัตว์ป่า. การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติในข้อใดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์. การเกิดภาวะโลกร้อน. การเกิดคลื่นสึนามิ. การเกิดโรคระบาด. การปะทุของภูเขาไฟใต้ทะเล. ความร่วมมือของทุกประเทศในข้อใดจะช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน. อนุสัญญาไซเตส. พิธีสารเกียวโต. สนธิสัญญาบาเซิล. อนุสัญญาแรมซาร์. บุคคลในข้อใดใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรม. ชาวอินเดียนแดงมีการเพาะปลูกพืชแบบยังชีพ. ชนเผ่าโกล๊อคในประเทศจีนนิยมเลียงสัตว์แบบเร่ร่อน. ชาวปิ๊กมีในประเทศคองโกยังชีพโดยการเก็บของป่าล่าสัตว์. ชาวเอสกิโมในขั้วโลกเหนือใช้น้ำแข็งมาสร้างเป็นที่พักชั่วคราว. ข้อใดเป็นผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญ. เกิดอากาศหนาวเย็นบริเวณทวีปอเมริกาใต้. เกิดความแห้งแล้งบริเวณทวีปอเมริกาใต้. เกิดปัญหาภัยแล้งและไฟป่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. บริเวณชายฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุม. "ปรากฏการณ์เรือนกระจกเป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นซึ่งส่งผลกระทบ ต่อภูมิอากาศทั่วโลกโดยจะทำให้ฤดูหนาวสั้นลงฤดูร้อนจะยาวนานขึ้นพื้นดินบางแห่งกลายเป็น ทะเลทรายเกิดพายุบ่อยครั้งและมีความรุนแรงมากขึ้นหิมะขั้วโลกละลายส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์" จากสถานการณ์ดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์อย่างไร. สัตว์และพืชบางชนิดสูญพันธุ์. ปริมาณน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น. ในฤดูร้อนอากาศร้อนมากขึ้น. เกิดภัยธรรมชำติที่ทำลายชีวิตและทรัพย์สิน. พิธีสารเกียวโตมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญอย่างไร. ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งสัตว์ป่าและพืชป่า. อนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ. ลดปริมาณสารพิษจากขยะอันตราย. การตรวจสอบทรัพยากรน้ำมันควรใช้เทคโนโลยีในข้อใดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมที่สุด. การตรวจสอบข้อมูลจากแผนที่ทรัพยากรธรรมชาติ. การวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรที่โคจรอยู่รอบโลก. ตรวจสอบข้อมูลจากกระทรวงทรัพยากรของแต่ละประเทศ. สร้างสถานีตรวจสอบทรัพยากรน้ำมันให้ครอบคลุมทั่วโลก. ศึกษาข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศบริเวณแหล่งทรัพยากรน้ำมัน. เมื่อประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะเกิดปรากฏการณ์ใด. ภาคใต้มีอุณหภูมิสูง. ภาคตะวันตกมีความกดอากาศสูงอุณหภูมิลดลง. ภาคใต้มีฝนตกชุก. ภาคเหนือมีอากาศหนาวเย็น. ภาคตะวันออกมีอากาศหนาวเย็น. วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในข้อใดควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนที่สุด. ปัญหาภาวะโลกร้อน. ปัญหาน้ำเสีย. ปัญหามลพิษทางอากาศ. ปัญหาการรุกล้ำพื้นที่ป่า. ปัญหาทรัพยากรเชื้อเพลิงกำลังจะหมดไป. นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด. ใช้น้ำและไฟฟ้าให้น้อยที่สุด. บริจาคเงินให้หน่วยงานที่ทำหน้าที่ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม. เลือกใช้สิ่งของที่ทำมาจากวัสดุจากธรรมชาติที่ย่อยสลายง่าย. เขียนคำขวัญรณรงค์การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. จัดกิจกรรมเชิญชวนให้คนในชุมชนร่วมกันปลูกต้นไม้. ข้อใดคือหินที่แปรมาจากหินชั้น. หินสบู่. หินปูน. หินอ่อน. หินดินดาน. ถ้าต้องการศึกษาทะเลทรายเขตอบอุ่น ต้องไปที่ใด. ทะเลทรายธาร์ และทะเลทรายดาชต์-อี-คาร์วี ในทวีปเอเชีย. ทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายกาลาฮารีในทวีปแอฟริกา. ทะเลทรายกิบสันและทะเลทรายซิมป์สันในทวีปออสเตรเลีย. ทะเลทรายโมฮาวีและทะเลทรายเกรตซอลต์เลคในทวีปอเมริกาเหนือ. หากต้องการทราบพิกัดภูมิศาสตร์ของโรงเรียนท่าน ควรใช้เครื่องมือใด. จีพีเอส. อาร์เอส. จีไอเอส. แผนที่ประเทศไทบ. ข้อใด ไม่ใช่ วิกฤตการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. การเกิดแผ่นดินไหว. การตื้นเขินของแหล่ง่น้ำ. ความจำกัดของจำนวนที่ดิน. การประกาศเขตป่าเสื่อมโทรม. การประชุมครั้งที่ 7 ของกลุ่มประเทศภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ประเทศโมรอกโก เมื่อ พ.ศ.2544 ได้เสนอประเด็นการแก้ปัญหาใดซึ่งมีผลมาถึงปัจจุบัน. ฝนกรด. ภาวะโลกร้อน. ปรากฎการณ์เอลนีโญ. ความหลากหลายทางชีวภาพ. การที่ประเทศไทยกำหนดให้เลิกใช้สารซีเอฟซีในการผลิตสินค้า เป็นการปฏิบัติตามข้อตกลงใด. พิธีสารเกียวโต. อนุสัญญาไซเตส. อนุสัญญาบาเซิล. พิธีสารมอนทรีออล. ผู้ที่บุกรุกหรือครอบครองที่ดินของรัฐ โดยมิชอบด้วยกฎหมาย มีความผิดตามกฎหมายใด. พ.ร.บ.ผังเมือง พ.ศ.2518. พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504. พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535. ข้อใด ไม่ใช่ หลักการพื้นฐานที่จะทำให้การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ. การให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม. การตอบสนองต่อท่าทีและความคิดเห็นของประชาชน. การจำแนกกลุ่มผู้มีส่วนร่วมที่เหมาะสมและเป็นธรรม. การประเมินผลสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน. UNEP ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องใด. การป้องกันชั้นโอโซน. ความหลากหลายทางชีวภาพ. การควบคุมพืชป่าและสัตว์ป่า. การเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ. การชึ้นทะเบียนมรดกโลก ต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานใด. UNICEF. UNESCO. UNCTAD. UNESCAP. |