แบบทดสอบเรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ
![]() |
![]() |
![]() |
Title of test:![]() แบบทดสอบเรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ Description: ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 |




New Comment |
---|
NO RECORDS |
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ข้อใดทำหน้าที่เป็นสื่อเก็บรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์. แผนที่. ลูกโลกจำลอง. จีพีเอส (GPS). รูปถ่ายทางอากาศ. ผู้ใช้แผนที่ควรมีความรู้พื้นฐานในข้อใดมากที่สุดจึงจะสามารถอ่านแผนที่ได้ถูกต้องรวดเร็ว. องค์ประกอบของแผนที่. ความหมายของแผนที่. ภูมิประเทศในแผนที่. ประเภทของแผนที่. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในข้อใด ทำให้รู้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ได้ชัดเจนมากที่สุด. แผนที่. ภาพจากดาวเทียม. ภาพถ่ายทางอากาศ. เว็บไซต์ทางภูมิศาสตร์. ข้อใดอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ GIS ได้ชัดเจน. ระบบสำรองเก็บข้อมูลบนพื้นผิวโลกด้วยเครื่องรับรู้. การบันทึกข้อมูลการทำงานของดาวเทียมอย่างมีระบบ. เทคโนโลยีที่นำเอาคอมพิวเตอร์มาเป็นหลักการทำงาน. ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ และรายละเอียดของวัตถุบนพื้นโลกโดยใช้ คอมพิวเตอร์. การบันทึกข้อมูลหรือรูปภาพของพื้นที่จากเครื่องบิน มีข้อจำกัดอย่างไร. ข้อมูลจากภาพไม่ชัดเจน. บันทึกข้อมูลได้ดีเฉพาะช่วงฤดูแล้ง. ความสั่นสะเทือนของเครื่องบินทำให้ภาพคลาดเคลื่อน. นักบินจะต้องมีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษจึงจะได้ภาพที่ถูกต้อง. การใช้เครื่องบินสำรวจด้านธรณีวิทยาและธรณีสัณฐานวิทยา มีผลดีในข้อใดมากที่สุด. การสำรวจและขุดเจาะ เพื่อหาทรัพยากรใต้ดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ. กำหนดตำแหน่ง เพื่อการพัฒนาสภาพแวดล้อม. มีข้อมูลที่เป็นตัวเลขตามหลักสถิติ. รู้ตำแหน่งเมืองสำคัญทั่วโลก. ข้อใด ไม่จัดว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. ข้อมูล. ซอฟต์แวร์. ฮาร์ดแวร์. ห้องเครื่อง. ระบบการทำงานของการถ่ายรูปทางอากาศที่สำคัญที่สุด คือข้อใด. การใช้เครื่องมือถ่ายภาพ. การแปลความหมายจากภาพถ่าย. การกำหนดบุคลากรที่มีความชำนาญในการบิน. การวางแผนการบินและมาตราส่วนของแผนที่ล่วงหน้า. การบันทึกข้อมูลของดาวเทียมพาสซีพ (Passive) คืออะไร. ระบบที่บันทึกข้อมูลจากการสะท้อนคลื่นแสงในเวลากลางวัน และคลื่นความร้อนจาก ดวงอาทิตย์ในเวลากลางคืน. ระบบที่ดาวเทียมผลิตพลังงานเองและส่งสัญญาณไปยังพื้นโลก แล้วรับสัญญาณสะท้อนกลับ ไปยังเครื่องรับ. ระบบการผลิตพลังงานของดาวเทียมสะท้อนไปยังข้อมูลที่ต้องการบันทึกภาพถ่าย. ระบบการรับข้อมูลจากแสงอาทิตย์ที่มีคลื่นความร้อนส่งไปยังดาวเทียม. การวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมมีองค์ประกอบหลักในการวิเคราะห์หลายประการ ยกเว้นข้อใด. เนื้อภาพ สี. ความสูง เงา. ตัวเลข น้ำหนัก. รูปแบบ ขนาด. ข้อใดคือความหมายของแผนที่+. การกำหนดพื้นที่ขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็ก. แผนที่ประกอบด้วยตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง. การจำลองสิ่งที่เป็นธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นลงบนแผ่นกระดาษ. การย่อสิ่งต่างๆที่ปรากฏบนพื้นโลกลงบนวัสดุต่างๆโดบใช้มาตราส่วน. หากนักเรียนต้องการทราบปริมาณแร่ธาตุในจังหวัดภูเก็ตควรศึกษาจากแผนที่ชนิดใด. แผนที่นำทาง. แผนที่เฉพาะเรื่อง. แผนที่ภูมิประเทศ. แผนที่อ้างอิงทั่วไป. ข้อใดคือความหมายของพิกัดภูมิศาสตร์. จุดตัดบนพื้นโลก. ตำแหน่งที่บอกเป็นค่าพิกัดกริด. ตำแหน่งที่บอกเป็นค่าละติจูด ลองจิจูด. พิกัดภูมิศาสตร์เริ่มต้นที่เส้นเมอริเดียนศูนย์องศา. แผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนใดครอบคลุมพื้นที่ตำบล. 1 : 5,000. 1 : 10,000. 1 : 50,000. 1 : 75,000. ถ้าต้องการหาระยะทางในแผนที่อย่างรวดเร็วที่สุด เช่น ระยะทางระหว่างกรุงเทพฯ กับ ช่องเม็ก จ.อุบลราชธานี ควรใช้วิธีใด. เทปวัดระยะทาง. ใช้มาตราส่วนบรรทัด. คำนวนจากมาตราส่วนคำพูด. คำนวนจากมาตราส่วนเศษส่วน. จากรูปทิศที่ลูกศรเส้นประชี้คือทิศเหนือชนิดใด. ทิศเหนือจริง. ทิศเหนือกริด. ทิศเหนือสมมติ. ทิศเหนือแม่เหล็ก. โลกเป็นทรงกลม เมื่อต้องการกำหนดตำแหน่งต่างๆบนโลกลงสู่แผนที่ซึ่งมีลักษณะแบนราบจึงต้องมีการกำหนดตำแหน่งโดยใช้ข้อต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด. พิกัดภูมิศาสตร. พิกัดกริด. เส้นโครงแผนที่. เส้นกั้นอาณาเขต. ข้อใดหมายถึงการกำหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์. ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตซีกโลกเหนือ. ละติจูดและลองจิจูดเป็นเส้นสมมติบนแผนที่. เส้นเมอริเดียนจะบอกพิกัดตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งต่างๆบนพื้นผิวโลก. ประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 5° N ถึง 20° N และลองจิจูด 97°E ถึง 105°E. ข้อใดเป็นการใช้สีแทนสัญลักษณ์ไม่ถูกต้อง. สีฟ้า แสดงบริเวณที่เป็นที่ราบ. สีเขียว แสดงบริเวณที่เป็นป่าไม้. สีเหลือง แสดงบริเวณที่เป็นที่ราบสูง. สีน้ำตาล แสดงบริเวณที่เป็นเทือกเขา. ข้อใดอธิบายความหมายของละติจูดได้ถูกต้องที่สุด. เส้นที่ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตร. เส้นที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้. เส้นสมมติที่ลากไปมนแนวเดียวกับเส้นเมอริเดียน. ระยะเชิงมุมที่วัดจากศูนย์กลางโลกมายังผิวโลก. ลองจิจูดมีความสัมพันธ์กับเวลา การหาเวลาไปทางตะวันออก เวลาจะเพิ่มขึ้นเป็นบวก การหาเวลาไปทางตะวันตก เวลาจะลดลงเป็นลบ เพราะเหตุผลใด. โลกหมุนในลักษณะตามเข็มนาฬิกา. โลกหมุนจากตะวันออกไปตะวันตก. โลกหมุนตะวันตกไปตะวันออก. ซีกโลกตะวันออกได้รับแสงอาทิตย์มากกว่าซีกตะวันตก. ปลัดอำเภอท่านหนึ่งใช่แผนที่นำทางเข้าหมู่บ้านเพื่อตรวจเยี่ยมสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ถือว่าเป็นประโยชน์ของแผนที่ในด้านใด. การทหาร. การศึกษา. การปกครอง. การพัฒนาเศรษฐกิจ. "นักเรียนที่ไม่เข้าใจแผนที่เปรียบเสมือนคนตาบอด" แล้วนักเรียนที่ชอบใช้แผนที่เป็นประจำ เป็นคนเช่นไร. ตัดสินใจรวดเร็ว. ชอบการวางแผน. ทันโลกทันเหตุการณ์. ชอบเดินทางท่องเที่ยวไปที่ต่างๆ. พระราชาในอดีตจะใช้ศาสตราวุธคู่พระวรกายในการทำศึกสงครามกับศัตรู แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงใช้สิ่งใดเป็นอาวุธคู่พระวรกายในการช่วยเหลือราษฎรต่อสู้กับความแห้งแล้ง น้ำท่วม ดินพังทลาย. แผนที่. ลูกโลก. รูปถ่ายทางอากาศ. ภาพจากดาวเทียม. อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาวิเคราะห์รูปถ่ายทางอากาศเพื่อพิจารณาความสูงต่ำของลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่แห่งหนึ่งคือข้อใด. กล้องสามมิติ. กล้องวัดระดับ. เครื่องไฮโกรมิเตอร์. เครื่องไซโครมิเตอร์. ข้อใดเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทให้ข้อมูลสารสนเทศที่ต้องนำมาวิเคราะห์และแปลความหมาย. เข็มทิศและกล้องวัดระดับพื้้นที่. เครื่องวัดน้ำฝนและเทอโมมิเตอร์. รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม. แผนที่แสดงเขตการปกครองของประเทศ. เหตุการณ์ใดควรใช้รูปถ่ายทางอากาศ. การกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน. การตรวจดูร่องความกดอากาศในมหาสมุทรแปซิฟิก. การสำรวจพื้นที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ. การสำรวจหาแหล่งทองคำที่ถ้ำลิเจียในจังหวัดกาญจนบุรี. ข้อได้เปรียบของข้อมูลดาวเทียมเมื่อเทียบกับข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศคือข้อใด. ถ่ายภาพจากที่สูง. ครอบคลุมพื้นที่กว้าง. บันทึกข้อมูลซ้ำที่เดิมได้. ข้อมูลนำไปจัดทำแผนที่ได้. รูปถ่ายทางอากาศเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่นำมาใช้ประโยชน์โดยตรงในด้านใด. การวางแผนพัฒนาการใช้ที่ดิน. เชื่อมโยงกับสัญญาณถ่ายทอดทางดาวเทียม. เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด. ศึกษาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง. ดาวเทียมที่สามารถถ่ายภาพในเวลากลางคืนและถ่ายภาพทะลุเมฆได้ ด้วยการส่งสัญญาณไมโครเวฟไปยังวัตถุเป้าหมายและรับสัญญาณการสะท้อนกลับ คือดาวเทียมใด. ดาวเทียมธีออส. ดาวเทียมแลนด์แซท. ดาวเทียมเรดาห์แซท. ดาวเทียมควิกเบอร์ด. การสะท้อนช่วงคลื่น(Spactral Signature) ของพืชพรรณ ดินและน้ำ แตกต่างกันอย่างไรเมื่อแปลภาพจากดาวเทียมด้วยสายตา. ป่าทึบสีเข้ม ป่าโปร่งสีจาง. น้ำลึกปรากฎสีดำ น้ำตื้นสีจาง. น้ำใสสะท้อนคลื่นได้ดีกว่าน้ำขุ่น. ดินทรายหยาบสะท้อนคลื่นได้ดีกว่าดินละเอียด. ประเทศไทยใช้ประโยขน์จากดาวเทียมในเรื่องใดมากที่สุด. ออกโฉนดที่ดิน. ใช้ในกิจการทหาร. สำรวจและแก้ไขปัญหาการจราจร. สำรวจทรัพยากรธรรมชาติและการสื่อสาร. การพยากรณ์อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาใช้ข้อมูลจากดาวเทียมใด. GMS. THEOS. LADSAT. THAICOM. ดาวเทียมสำรวจแหล่งทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยคือข้อใด. GMS. NOAA. THEOS. RADARSAT. ข้แมูลดาวเทียมและข้อมูลภูมิสารสนเทศมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ยกเว้นข้อใด. การวางผังเมือง. การวางแผนระบบจราจร. การหาพิกัดตำแหน่งของไฟป่า. การจัดเก็บขยะและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว. องค์ประกอบที่สำคัญของการรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing) ได้แก่สิ่งใด. เมฆ. คลื่นแสง. คลื่นเสียง. ลักษณะวัตถุบนพื้นโลก. ข้อได้เปรียบของการทำแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS)คือเรื่องใด. ใช้บุคคลากรน้อย. ประหยัดค่าใช้จ่าย. การนำเข้าข้อมูลง่ายไม่ซับซ้อน. สามารถทำแผนที่และวิเคราะห์ข้อมูลง่าย. การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อนำเข้าสู่ระบบGIS ข้อมูลใดมีความสำคัญในการวางแผนช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย. ตำแหน่งโรงพยาบาล โรงเรียน วัด. พื้นที่ดอน พื้นที่ชุมชน แผนที่เส้นทาง. พื้นที่แหล่งน้ำ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่สูง. พื้นที่น้ำท่วม พื้นที่หมู่บ้าน พื้นที่การเกษตร. การวิเคราะห์โครงข่าย(Network Analysis) ในระบบ GIS จะใช้วิเคราะห์ข้อมูลประเภทเส้น(Line) เท่านั้น ข้อใดไม่ถูกต้อง. การสร้างถนน. การศึกษาระบบลำน้ำ. การวางท่อปะปาใต้ดิน. การติดต่อสื่อสารทางไลน์(Line). วางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หากต้องการวางแผนพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งจำเป็นต้องใช้ชั้นข้อมูลต่างๆ ข้อมูลใดจำเป็นน้อยที่สุด. ข้อมูลแสดงแหล่งน้ำ. ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ. ข้อมูลแสดงเส้นทางคมนาคม. ข้อมูลแสดงเขตการปกครองที่ตั้งชุมชน. การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในระดับต่างๆ ในจังหวัด หรือระดับอำเภอว่าอยู่ในระดับเสี่ยงมากหรือเสี่ยงน้อยควรใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใด. การประยุกต์ใช้ระบบ GPS. การประยุกต์ใช้ระบบ GIS. การประยุกต์ใช้ระบบ RS. การใข้แผนที่เส้นชั้นความสูง. ข้อใดอธิบายความหมายและการทำงานของกระบวนการรีโมตเซนซิงในปัจจุบันได้ถูกต้อง. การส่งดาวเทียมไทยคม 3 ขึ้นไปโคจรในอวกาศ. การวิเคราะห์และแปลความหมายของภาพจากเครื่องบิน. การบันทึกข้อมูลพื้นที่เป้าหมายในระยะไกลโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อ. การบันทึกภาพวัตถุในระยะไกลของเครื่องบินโดยใช้คลื่นวิทยุ. คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีกี่ลักษณะ. 1 ลักษณะ. 2 ลักษณะ. 3 ลักษณะ. 4 ลักษณะ. ช้อใด ไม่ใช่ ดาวเทียมที่ใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติ. ดาวเทียมสปอต. ดาวเทียมไทยคม. ดาวเทียมไอโคนอต. ดาวเทียมแลนด์แซท. รีโมตเซนซิง(Remote Sensing) หรือการรับรู้ระยะไกลเป็นเทคโนโลยีทันสมัยที่นำมาใช้ในการศึกษาสำรวจเข้าถึงพื้นที่ สามารถมองเห็นภาพและข้อมูลพื้นที่แล้วนำมาประยุกต์ใช้ในการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างมากในปัจจุบัน ข้อใดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของรีโมตเซนซิง. คลื่นแสงที่เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า. ความแตกต่างของผิววัตถุที่สะท้อนแสง. ระยะทางระหว่างดาวเทียมกับพื้นผิวโลก. ความสามารถของสถานีรับสัญญาณดาวเทียม. การรับรู้จากระยะไกล(Remote Sensing) ในปัจจุบันมีประโยชน์อย่างไร. การสำรวจทางด้านธรณีวิทยา. นำมาใช้ติดตามทรัพยากรและวางแผนสิ่งแวดล้อม. การติดตามและประเมินสภาพป่าไม้และการขยายตัวของเมือง. ถูกต้องทุกข้อ. หน่วยงานใดเป็นผู้ออกแบบและจัดสร้างระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก(GPS). กองทัพสหรัฐอเมริกา. กองทัพสหราชอาณาจักร. กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา. กระทรวงกลาโหมสหราชอาณาจักร. ข้อใดคือส่วนประกอบของระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก(GPS). User segment. Space segment. Control segment. ถูกต้องทุกข้อ. ประโยชน์ของระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก(GPS) คือข้อใด. การวัดเวลาที่เวลาที่เที่ยงตรงที่สุด. การนำทางจากที่หนึ่งไปที่อื่นๆได้ตามต้องการ. การติดตามการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งขิงต่างๆ. ถูกต้องทุกข้อ. ปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่องรับสัญญาณดาวเที่ยมGPSอย่างรวดเร็วคือ มีขนาดเล็กลง มีราคาถูก ความสามารถสูงขึ้น และติดตั้งร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆในข้อใดต่อไปนี้. โทรทัศน์. โทรศัพท์มือถือ. โน๊ตบุ๊ค. คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล. |